) สรุปข้อสนเทศบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)

กลับ
ทำในอนาคตอาจอยู่ภายใต้ข้อจำกัดที่เข้มงวดยิ่งขึ้น ซึ่งอาจส่งผลเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลประกอบการและแนวโน้มการดำเนินงานของ BTSC ในกรณีที่ BTSC ผิดนัดชำระหนี้หรือ BTSC ตกเป็นบุคคลล้มละลาย เจ้าหนี้ของ BTSC ไม่มีสิทธิบังคับชำระหนี้จากงาน โครงสร้างระบบรถไฟฟ้าและทรัพย์สินอื่นๆ ที่โอนเป็นกรรมสิทธิ์ของกทม. เจ้าหนี้ของ BTSC มีสิทธิบังคับชำระหนี้จาก ขบวนรถ ทรัพย์สินที่เป็นสังหาริมทรัพย์อื่นๆ และการลงทุนอื่นๆ ของ BTSC เท่านั้น โดยเจ้าหนี้มีประกัน (ถ้ามี) มีสิทธิ 21 ได้รับชำระหนี้จากการบังคับคดีจากทรัพย์สินเหล่านั้นก่อนเจ้าหนี้ไม่มีประกัน และทั้งนี้จะต้องอยู่ภายใต้การบังคับสิทธิ ตามสัญญาของกทม. 2. ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจโรงแรม ที่ผ่านมาบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก ในปัจจุบันบริษัทฯ มีเป้าหมายในการทำ ธุรกิจโรงแรมมากยิ่งขึ้นในระดับ 3-6 ดาว ทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด บริษัทฯ จึงอาจมีความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ โรงแรมซึ่งไม่ใช่ธุรกิจหลักของบริษัทฯ ในอดีต อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ร่วมทุนกับกลุ่มนักธุรกิจที่มีประสบการณ์ในธุรกิจรับบริหารจัดการโรงแรม จัดตั้ง บริษัท แอ๊บ โซลูท โฮเต็ล เซอร์วิส จำกัด เพื่อทำการพัฒนาเครือข่ายโรงแรมของตนเองขึ้นมาภายใต้ชื่อ U Hotels & Resorts เพื่ อบริ ห รโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ของบริ ษั ท ฯ ส่ว นการดำเนิน ธุ ร กิ จ โรงแรมระดั บ 5-6 ดาวนั้ น บริ ษั ท ฯ จะร่ วมกั บ เครือข่ายโรงแรมระดับโลกมาบริหารงานในส่วนนี้ ซึ่งบริษัทต่างชาติเหล่านี้มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับและมีฐานลูกค้าอยู่ แล้ว นอกจากนี้ ในอดีตบริษัทฯ ได้เคยเป็นผู้ถือหุ้นในโรงแรมรีเจนท์ ถนนราชดำริ และโรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ อีกทั้งได้เคยประกอบธุรกิจโรงแรมมาแล้ว ได้แก่ โรงแรมดิเอ็มเพรส กรุงเทพ ซึ่งปัจจุบัน คือ โรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพฯ และในปัจจุบันบริษัทยังคงดำเนินธุรกิจโรงแรมอิสติน เลคไซด์ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีศักยภาพในการประกอบ ธุรกิจโรงแรม 3. ความเสี่ยงจากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในด้านการเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุก่อสร้าง วัสดุก่อสร้างถือเป็นต้นทุนการก่อสร้างที่สำคัญในการพัฒนาโครงการ ราคาวัสดุก่อสร้างจะมีความผันแปรไปตามภาวะ ราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้น และการเติบโตของภาคอสังหาริมทรัพย์ ความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างอาจส่งผลให้ ต้นทุนในการก่อสร้างโครงการของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทฯ อย่ งไรก็ ต ม บริ ษัท ฯ มี ก รบริ ห รควบคุ มค่ ก่ อ สร้า ง โดยใช้ น โยบายการว่ จ้ งที่ ร วมค่ วั ส ดุ แ ละค่ แรงของทั้ ง โครงการไว้ ใ นสั ญ ญาว่ จ้ งของบริ ษั ท ฯ ไว้ แ ล้ ว โดยผู้ รั บ เหมาจะเป็น ผู้รั บ ภาระราคาวั ส ดุ ที่ เปลี่ ย นไป สำ หรั บวั ส ดุ ก่อสร้างที่บริษัทฯ เป็นผู้จัดหานั้น เนื่องจากบริษัทฯ มีฝ่ายพัฒนาโครงการซึ่งมีประสบการณ์และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ ผู้ ข ย วั ส ดุ ก่ อ ส ร้ ง แ ล มี อำ น จ ใ น ก ร ต่ อ ร อ ง กั บ ผู้ ค้ วั ส ดุ ก่ อ ส ร้ ง ค่ อ น ข้ ง สู ง ทำ ใ ห้ บริษัทฯ สามารถควบคุมต้นทุนของวัสดุก่อสร้างให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมได้ โดยบริษัทฯ จะวางแผนการก่อสร้างและ ทำ การประเมิ น ปริ ม ณการใช้ วั ส ดุ แ ต่ ล ประเภทรวมทั้ ง โครงการก่ อ น และจะสั่ ง ซื้ อ วั ส ดุ ดั ง กล่ วตามปริ ม ณที่ ไ ด้ ประเมินไว้ 4. ความเสี่ยงจากการบริหารโครงการบ้านเอื้ออาทร บริษัทฯ ได้ร่วมจัดทำโครงการบ้านเอื้ออาทรจำนวน 20,000 หน่วย โดยทำสัญญากับการเคหะแห่งชาติเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2549 แต่เนื่องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองที่อาจส่งผลต่อนโยบายของภาครัฐในการสานต่อโครงการนี้ ทำให้ยังคงต้องรอความชัดเจน ความไม่แน่นอนดังกล่าวมีผลกระทบโดยตรงต่อจำนวนหน่วยที่บริษัทฯ จะได้รับอนุมัติ ให้ดำเนินการสร้างและรายได้ในอนาคต ในปัจจุบันจำนวนหน่วยที่บริษัทฯ ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการสร้างบ้านเอื้ออาทรลดลงจากจำนวน 9,584 หน่วย เหลือ จำนวน 8,048 หน่วย จากทั้งหมด 20,000 หน่วย เนื่องจากในปี 2551 การเคหะแห่งชาติได้ยกเลิกโครงการที่บางบ่อ (1,536 หน่วย) ทั้งนี้บริษัทฯ ได้สำรองเผื่อการด้อยค่าของต้นทุนโครงการที่สระบุรี และชลบุรีแล้วจำนวน 19.8 ล้าน บาท และ 11.2 ล้านบาท ในงบการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 และ 2552 ตามลำดับ แต่อย่างไรก็ตาม ที่ ผ่านมาบริษัทฯ ยังคงมีรายได้รับตามงวดงานที่ส่งมอบให้แก่การเคหะแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ดำเนินการก่อสร้างและโอนให้การเคหะแห่งชาติแล้วจำนวน 4,216 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จำนวน 2,108 หน่วย และรอการเคหะแห่งชาติอนุมัติการสร้างหน่วยที่เหลืออีกจำนวน 1,724 หน่วย 5. ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ภายหลังจากบริษัทฯ ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทฯ มีภาระหนี้คงค้างอีกจำนวนหนึ่ง โดยภาระหนี้ดังกล่าวไม่มีการคิดดอกเบี้ย ดังนั้นจึงไม่ได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ในส่วนนี้ สำหรับภาระหนี้ใหม่จากการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาโครงการต่างๆ ของบริษัทฯ ภายหลัง จากการยกเลิก การฟื้ นฟู กิ จ การ บริ ษั ท ฯ ได้ เจรจาต่ อรองกั บ สถาบั น การเงิ น หลายแห่ ง และเข้ กู้ ยื ม เงิ น กั บ สถาบั น การเงินซึ่งให้ข้อตกลงและเงื่อนไขที่ดีที่สุด สำหรับโครงการในอนาคต บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดหาแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนที่ดีที่สุดขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจและ การเงินในขณะนั้น 22 กรณีพิพาท 1. ข้อพิพาททางกฎหมายที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นคู่ความหรือคู่กรณีซึ่งเป็นคดีหรือข้อพิพาทที่ยังไม่สิ้นสุด และ เป็นคดีที่อาจมีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างมีนัยสำคัญ และเป็นคดีที่มิได้เกิดจาก การประกอบธุรกิจโดยปกติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 บริษัทฯ และบริษัทย่อย 2 แห่งในฐานะผู้จำนองสินทรัพย์ค้ำประกันหุ้นกู้ของบริษัทฯ ถูกฟ้องร้องเป็น จำเลยจากธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งเพื่อชำระหุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันพร้อมดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องเป็น จำนวนเงินประมาณ 4,250.8 ล้านบาท ซึ่งศาลชั้นต้นได้พิพากษาให้บริษัทย่อยชำระหนี้ตามจำนวนเงินดังกล่าวข้างต้น ต่อมาบริษัทย่อยได้ขอยื่นอุทธรณ์และปัจจุบันศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น อย่างไรก็ตาม ธนาคารดังกล่าว ได้ยื่นขอรับชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ได้จัดให้มีการประมูลสินทรัพย์ค้ำประกันข้างต้นเพื่อ ชำระหนี้ให้กับธนาคารดังกล่าวตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินในงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ข้อ 9 ดังนั้นบริษัทย่อยจึงไม่ได้ตั้งสำรองเผื่อหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นไว้ในบัญชี 1.2 บริษัทฯ ถูกฟ้องร้องเป็นจำเลยร่วมกับกรรมการของบริษัทฯ จากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งในประเทศ เพื่อ ชำระเงินกู้ยืมระยะสั้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นจำนวนเงินประมาณ 150.5 ล้านบาท 1.3 บริษัทฯ ถูกฟ้องร้องเป็นจำเลยจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งในประเทศในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันการกู้ยืมเงิน เพื่อทำสัญญาทรัสต์รีซีทของบริษัทแห่งหนึ่งเป็นจำนวนเงินประมาณ 90.3 ล้านบาท 1.4 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งถูกฟ้องร้องเป็นจำเลยร่วมกับกรรมการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และถูกเรียกร้อง ค่าเสียหายจากเจ้าหนี้ค่าที่ดินเป็นจำนวนเงินประมาณ 436.8 ล้านบาท เนื่องจากการผิดเงื่อนไขในสัญญาจะซื้อจะขาย ที่ดิ น ซึ่งศาลชั้นต้นมีคำ พิพากษาให้บริ ษัท ย่อยชำระหนี้ เป็นจำนวนเงิน 38 ล้านบาท พร้ อมดอกเบี้ ย ปัจ จุ บันคดี อยู่ ระหว่างการอุทธรณ์โดยบริษัทย่อย และบริษัทย่อยเชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระสำคัญจากคดีความ 1.5 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งถูกฟ้องร้องเป็นจำเลยจากบุคคลธรรมดา เพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย เนื่องจากทรัพย์สิน ของโจทก์สูญหายขณะเข้าพักในโรงแรมของบริษัทย่อย เป็นจำนวนเงินประมาณ 6.0 ล้านบาท ปัจจุบันคดีดังกล่าวอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยเชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระสำคัญจากคดี ความ คดีความตามที่กล่าวไว้ในข้อ 1.1 ถึ ง 1.3 เป็นคดีความที่เจ้ หนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามขั้นตอนการฟื้นฟูกิจการ เรียบร้อยแล้ว และเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม หนี้ตามคดีความดังกล่าวยังอยู่ระหว่างรอคำสั่งอันเป็นที่สุดของศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประมูลสินทรัพย์บางส่วนเพื่อชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ บริษัทฯ เชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายเกินกว่า จำนวนที่ได้บันทึกไว้แล้วในบัญชี 2. ข้อพิพาททางกฎหมายที่ BTSC เป็นคู่ความหรือคู่กรณีซึ่งเป็นคดีหรือข้อพิพาทที่ยังไม่สิ้นสุด และเป็นคดีที่อาจมี ผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของ BTSC อย่างมีนัยสำคัญ และเป็นคดีที่มิได้เกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 คดีของศาลแพ่ง BTSC ถูกบริษัทขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด โจทก์ที่ 1 บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) โจทก์ที่ 2 และบริษัท สามัคคีประกันภัย จำกัด (มหาชน) โจทก์ที่ 3 ฟ้อง BTSC เป็นจำเลยที่ 2 ร่วมกับ บริษัท อิตาเลี่ยนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) จำเลยที่ 1 และบริษัท ไทยมารูนเคน จำกัด จำเลยที่ 3 ในคดี แพ่งฐานประกันภัย รับช่วงสิทธิอื่นๆ ละเมิดและเรียกค่าเสียหาย ซึ่งคดีมีทุนทรัพย์ 108,602,702 บาท โดยจากการ ตรวจสอบแผนฟื้นฟูกิจการของ BTSC โจทก์ทั้งสามได้นำหนี้ตามมูลคดีนี้ไปยื่นขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการของ BTSC แล้ว โดยได้รับการจัดให้เป็นเจ้าหนี้กลุ่มที่ 10 ตามแผนฟื้นฟูกิจการ (เจ้าหนี้ไม่มีประกัน ประเภทเจ้าหนี้มีข้อ พิพาทสืบเนื่องจากมูลละเมิด) ซึ่งศาลล้มละลายกลางได้ยกคำขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้กลุ่มที่ 10 ขณะนี้อยู่ในระหว่าง การอุทธรณ์คำสั่งของศาลล้มละลายกลาง 2.2 คดีของศาลปกครองกลาง BTSC ถูกนายสุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ กับพวกฟ้องโดยมีกรุงเทพมหานครเป็นผู้ ถูกฟ้องคดีที่ 1 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ผู้อำนวยการสำนักการโยธา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 และ BTSC เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 4 ในมูลความผิดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และ พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการจัดให้มีลิฟท์และอุปกรณ์ที่ อำนวยความสะดวกแก่คนพิการ และเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคำพิพากษายกฟ้อง โดยผู้ ฟ้องคดีทั้งสามได้อุทธรณ์คำพิพากษาต่อศาลปกครองสูงสุด และบริษัทได้ยื่นคำร้องโต้แย้งอุทธรณ์ดังกล่าวแล้ว โดย คดีนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด 2.3 คดีในศาลล้มละลายกลาง (คดีสาขาของคดีฟื้นฟูกิจการ) กทม. ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีฟื้นฟูกิจการ ของ BTSC ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ โดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งอนุญาตให้กทม. ได้รับชำระหนี้ในการ ฟื้นฟูกิจการในมูลหนี้ลำดับที่ 5 ค่าตอบแทนการใช้ที่ดินราชพัสดุ เป็นเงิน 8,330,667 บาท และมูลหนี้ลำดับที่ 4 ค่าธรรมเนียมหนังสือค้ำประกัน เป็นเงิน 12,296,700 บาท โดยมีเงื่อนไขว่า กทม. จะได้รับชำระเมื่อกทม. ได้ชำระ ให้แก่ธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) เท่าที่จ่ายไปจริงแต่ไม่เกินวงเงินค้ำประกัน และยกคำร้องในส่วนมูลหนี้ในลำดับ ที่ 1-3 ค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินจำนวน 72,352,502.02 บาท และมูลหนี้ลำดับที่ 5 หนี้ค่าเช่าอาคารจำนวน 201,440,705.60 บาท โดยต่อมา กทม. ได้ยื่นคำร้องโต้แย้งคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการฟื้นฟูกิจการต่อศาล 23 ล้มละลายกลาง และ BTSC ได้ยื่นคำร้องขอคัดค้านคำโต้แย้งของกทม. คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลล้มละลาย กลาง โดยศาลนัดสืบพยานผู้ร้องในวันที่ 24 พฤษภาคม 2553 ทั้งนี้ ตามมาตรา 90/75 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 (ที่แก้ไขเพิ่มเติม) เมื่อศาลมีคำสั่งยกเลิกการฟื้นฟู กิจการของ BTSC แล้ว BTSC ย่อมหลุดพ้นจากหนี้ทั้งปวงซึ่งเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งฟื้นฟูกิจการของ BTSC (วันที่ 7 กรกฎาคม 2549) เว้นแต่เจ้าหนี้จะได้ยื่นขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการของ BTSC จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 บริษัทฯ มีพนักงานจำนวน 147 คน เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม/บริษัทที่เกี่ยวข้อง เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม/บริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ปรากฏดังนี้ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) หน่วย: ล้านบาท ประเภทกิจการและ ร้อยละของหุ้น มูลค่าเงินลงทุน ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ทุนชำระแล้ว ที่ถือหุ้นสามัญ (ตามราคาทุน) บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด์ ถือครองที่ดิน 5.00 100.00 5.00 คอมมิวนิเคชั่น บจ. สำเภาเพชร ถือครองที่ดิน 1.00 100.00 1.00 บจ. สระบุรี พร็อพเพอร์ตี้ ถือครองที่ดิน 100.00 30.00 7.50 บจ. ดีแนล อาคารสำนักงานให้เช่า 50.00 100.00 680.61 บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์ โรงแรม 433.50 100.00 437.19 บจ. ยงสุ เซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ 234.00 100.00 236.57 บจ. ธนาซิตี้ กอล์ฟ แอนด์ บริหารและดำเนินการ 10.00 100.00 10.0 คันทรี คลับ บจ. กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โรงแรมและพัฒนา 859.00 100.00 1,288.60 โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ อสังหาริมทรัพย์ บจ. ธนายง พร็อพเพอร์ตี้ บริหารอาคาร 1.00 100.00 1.00 แมเนจเม้นท์ บจ. แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วิส บริหารจัดการโรงแรม 8.00 50.00 4.00 บจ. ธนายง ฟู๊ด แอนด์ ภัตตาคาร 1.00 100.00 1.00 เบเวอเรจ บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น รับเหมาก่อสร้าง 25.00 51.00 12.75 (ประเทศไทย) บจ. ธนายง ลงทุนในหลักทรัพย์ 1,000 USD 100.00 0.03 อินเตอร์เนชั่นแนล ทั้งนี้ ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ได้รับโอนหุ้นสามัญ BTSC เป็นจำนวน 15,022,335,992 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 94.6 ของหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ BTSC BTSC หน่วย: ล้านบาท ประเภทกิจการและ ร้อยละของหุ้น มูลค่าเงินลงทุน ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ทุนชำระแล้ว ที่ถือหุ้นสามัญ (ตามราคาทุน) บจ. นูโว ไลน์ เอเจนซี่ ถือครองที่ดินและพัฒนา 2,001.00 80.00 1,600.80 อสังหาริมทรัพย์ บจ. บีทีเอส แอสเสทส์ ถือครองที่ดินและพัฒนา 800.00 100.00 1,200.00 อสังหาริมทรัพย์ บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิส ให้บริการบัตรเงิน 200.00 100.00 200.00 เทม จำกัด อิเล็กทรอนิกส์ (E- Money) บจ. บีทีเอส แลนด์ ถือครองที่ดินและพัฒนา 10.00 100.00 10.00 อสังหาริมทรัพย์ บจ. วีจีไอ โกลบอล มีเดีย โฆษณาบนรถไฟฟ้าและ 10.00 100.00 2,500.00 สถานีรถไฟฟ้า รวมถึง บริเวณร้านค้าปลีกชั้นนำ 24 การเพิ่ม (ลด) ทุนในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา หน่วย: ล้านบาท ทุนที่เพิ่ม(ลด) หลังเพิ่ม (ลด) ทุน หมายเหตุ/วัตถุประสงค์การใช้เงิน วัน/เดือน/ปี 4 พฤษภาคม 2550 480.00 5,813.33 เพื่อนำเงินที่ได้จากการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุน ให้แก่บุคคลในวงจำกัด ไปใช้ในการลงทุน ร่วมกับ Winnington Capital Limited บริษัท จัดการกองทุนในประเทศฮ่องกง เพื่อจัดตั้ง บริษัทร่วมทุน บริษัท กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จำกัด เพื่อดำเนินธุรกิจ โรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จังหวัด ภูเก็ต เพื่อออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 1,034.80 28 กรกฎาคม 2552 1,034.80 6,848.13 ล้านหุ้น ให้แก่ Winnington Capital Limited ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของค่าซื้อหุ้น บริษัท กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จำกัด จาก Winnington Capital Limited ทำ ให้บริษัทฯ ถือหุ้นในบริษัท กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จำกัด เป็น สัดส่วนร้อยละ 100 18 พฤศจิกายน 2552 766.26 7,614.39 เพื่อออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 856.02 ล้านหุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ TYONG-W1 ซึ่งออกเพื่อเพิ่มสภาพคล่องและ เงินทุนหมุนเวียนให้กับบริษัทฯ 4 พฤษภาคม 2553 28,166.87 35,781.27 เพื่อการเข้าซื้อหุ้น BTSC (ตามรายละเอียดที่ กล่าวมาแล้วข้างต้น) 1 เมษายน - 31 มีนาคม รอบระยะเวลาบัญชี ผู้สอบบัญชี คุณเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด นายทะเบียนหุ้น บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) ที่ปรึกษาทางการเงิน นโยบายการจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ตามงบ การเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัทฯ จะจ่ายเงินปันผลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป โดยคำนึงถึงกระแสเงินสดจากการ ประกอบการ และการประกาศจ่ายเงินปันผลประจำปีจะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทอาจเห็นสมควรให้มีการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลหากเห็นว่าบริษัทฯ มีกำไรและสามารถดำรง เงินลงทุนหมุนเวียนที่ใช้ในการดำเนินการได้อย่างเพียงพอภายหลังการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลนั้น ซึ่งคณะกรรมการ บริษัทมีหน้าที่แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นรับทราบในการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งถัดไป ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นนั้น คณะกรรมการบริษัทจะคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้ ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ สภาพคล่อง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัทฯ ข้อบังคับหรือเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลที่กำหนดโดยสัญญาเงินกู้ยืม หุ้นกู้ สัญญาซึ่งก่อให้เกิดภาระ หนี้สินของบริษัทฯ หรือข้อตกลงหรือสัญญาอื่นๆ ที่บริษัทฯ ต้องปฏิบัติตาม แผนการดำเนินงานในอนาคตและความต้องการในการใช้เงินลงทุน ปัจจัยอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯเห็นสมควร 25 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ที่กำหนดให้บริษัทฯ ไม่ สามารถจ่ายเงินปันผลได้หากบริษัทฯ ยังมีผลขาดทุนสะสมอยู่แม้ว่าบริษัทฯ จะมีกำไรสุทธิสำหรับปีนั้นๆ ก็ตาม และ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ยังกำหนดให้บริษัทฯ สำรองเงินตามกฎหมายในจำนวนไม่น้อยกว่าร้อย ละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าเงินสำรองตามกฎหมายจะมีจำนวนไม่น้อย กว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน และนอกจากเงินสำรองที่กฎหมายกำหนดให้บริษัทฯ ต้องจัดสรรแล้ว คณะกรรมการอาจพิจารณาจัดสรรเงินสำรองประเภทอื่นได้อีกตามที่เห็นสมควร บัตรส่งเสริมการลงทุน BTSC ได้รับบัตรส่งเสิรมการลงทุนเลขที่ 1039/2536 โดยสิทธิประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนดังกล่าวรวมถึงการ ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนพิจารณาอนุมัติ จำนวนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 4 พฤษภาคม 2553 (ซึ่งปรับจากรายชื่อผู้ถือหุ้น ณ วันปิดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 7 เมษายน 2553) (1) จำนวนราย จำนวนหุ้น ร้อยละของทุนชำระแล้ว 1. ผู้ถือหุ้นสามัญที่เป็น Strategic shareholders 1.1 กรรมการ ผู้จัดการ และผู้บริหาร รวมถึง 24 14,905,566,886 41.66 ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลที่มีความสัมพันธ์ 1.2 ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้น > 5 % โดยนับรวมผู้ที่ 2 15,733,817,379 43.97 เกี่ยวข้องด้วย* 1.3 ผู้มีอำนาจควบคุม 1 271,843,540 0.76 2. ผู้ถือหุ้นสามัญรายย่อยที่ถือไม่ต่ำกว่า 1 10,331 4,870,031,874 13.61 หน่วยการซื้อขาย 3. ผู้ถือหุ้นสามัญที่ถือต่ำกว่า 1 หน่วยการ 505 12,108 0.00 ซื้อขาย รวมผู้ถือหุ้นสามัญทั้งสิ้น 10,863 35,781,271,787 100.00 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 7 เมษายน 2553 ก่อนการเข้าซื้อหุ้นสามัญ BTSC ร้อยละของทุน ชำระแล้ว จำนวนหุ้น ชื่อ 1. กลุ่มนายคีรี* 2,403,608,095 31.57 Citigroup Global Markets Limited - IPB Customer 932,481,083 12.25 2. Collateral Account 3. Fortis Global Custody Services N.V. 597,000,000 7.84 4. VMS Private Investment Partners II Limited 450,000,000 5.91 5. นายวันชัย พันธุ์วิเชียร 369,225,000 4.85 6. Mr. Cheng Wan Yen 300,000,000 3.94 7. บริษัท ธนายง ฟู๊ด แอนด์ เบเวอเรจ จำกัด** 271,843,540 3.57 8. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด 114,502,073 1.50 (ยังมีต่อ)